การ ปลูก ปาล์ม

และมีการคมนาคมขนส่งสะดวก พันธุ์ พันธุ์ที่แนะนำให้ปลูกเป็นการค้าในปัจจุบัน? คือ? พันธุ์เทเนอร่า? (Tenera)? เป็นพันธุ์ผสมระหว่างพันธุ์ดูร่ากับพันธุ์พิสิเฟอร่า? โดยใช้พันธุ์ดูร่าเป็นพันธุ์แม่? และพันธุ์พิสิเฟอร่า? เป็นพันธุ์พ่อ? พันธุ์เทเนอร่า? มีกะลาบาง (0. 5? 4 มิลลิเมตร)? และมีน้ำมันต่อน้ำหนักทะลายประมาณร้อยละ? 22? 25 มีทะลายดกกว่าพันธุ์ดูร่า? เนื่องจากพันธุ์เทเนอร่ามีคุณสมบัติดี? คือ? มีกะลาบางได้น้ำมันจากส่วนเปลือกนอกมากกว่าพันธุ์ดูร่าประมาณร้อยละ 25 จึงมักนิยมปลูกเป็นการค้าลักษณะผลดิบสีดำเมื่อสุกเปลือกนอกมีสีส้ม? กะลาบาง? ให้น้ำมันสูง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม? ของพันธุ์เทเนอร่า ปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี? จะให้ผลผลิตสูง? มีคุณภาพดีให้ผลผลิตสม่ำเสมอตลอดปี? ขายได้ราคาดี? เป็นที่ต้องการของโรงงาน. ปาล์มน้ำมันคุณภาพต่ำ (พันธุ์ไม่ดี)? เมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าปาล์มน้ำมันคุณภาพต่ำ? ได้จากการผสมระหว่างพ่อและแม่พันธุ์ที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการคัดเลือกสายพันธุ์? หรือได้จากการผสมพันธุ์แบบไม่มีการควบคุมการผสมพันธุ์? เช่น? ต้นกล้าที่งอกบริเวณใต้โคนต้น ลักษณะของพันธุ์ ความเสียหายเมื่อปลูกปาล์มน้ำมันคุณภาพต่ำ? คือ?

การเตรียมพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน - รุ่งเรืองพันธุ์ปาล์ม

การเลือกพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน - รุ่งเรืองพันธุ์ปาล์ม

ผลผลิตทะลายปาล์มสดลดลง 15? 50% และน้ำมันปาล์มดิบลดลง 35? 55% ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี 1. เป็นปาล์มน้ำมันพันธุ์ลูกผสมเทเนอร่า (DxP) 2. ซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้ มีหนังสือรับรองจากทางการ 3. เลือกต้นที่สมบูรณ์ ลักษณะดี ไม่มีอาการผิดปกติ 4. มีข้อเบื้องต้นในด้านการให้ผลผลิตที่ดี และสม่ำเสมอ 5. มีประวัติพันธุ์ (Breeding Programe) อย่างชัดเจน 6. มีแหล่งที่ผลิต (ที่มา) ของเมล็ดพันธุ์ที่เชื่อถือได้ 7. ต้นกล้าปาล์มน้ำมันควรมีอายุหรือขนาดเหมาะสมตามความต้องการของเกษตรกร เช่น ถ้าปลูกทันทีควรมีอายุ 8-12 เดือน ถ้าซื้อต้นกล้าเล็กเพื่อนำไปปลูกดูแลก่อน ควรซื้อถุงขนาดเล็กที่มีอายุกล้า 2? 4 เดือน แหล่งปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี การเลือกซื้อปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี ควรพิจารณาปฏิบัติตามลำดับ ดังนี้ 1. ซื้อจากกรมวิชาการเกษตร หรือจากบริษัทที่กรมวิชาการเกษตรรับรองว่าเป็นแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ 2. ซื้อจากผู้จำหน่ายพันธุ์ที่มีแหล่งที่เคยจำหน่ายให้ส่วนราชการมาก่อน หรือซื้อจากบริษัทที่ทางราชการรับรอง 3. ซื้อจากผู้จำหน่ายพันธุ์ที่มีพื้นที่ปลูกและโรงงานอยู่ในพื้นที่อย่างมั่นคงถาวรเป็นการยืนยันว่ามีการบริการหลังการขายหรือมีจุดรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรอย่างต่อเนื่องได้ 4.

การปลูกปาล์มน้ำมัน | ความรู้ด้านการเกษตร

วิธีปลูกปาล์มทดแทน แบบยูนิวานิช เพิ่มผลผลิต 40% : ต้นไม้และสวน TV - YouTube

5 ซม. ในขณะที่ปาล์มปลูกในระยะ 9x9x9 เมตร และ 10x10x10 เมตร จะมีเส้นรอบวงของลำต้น 240. 0 ซม. และ 244. 0 ซม.

การปลูกปาล์ม รายการเกษตรแทนไท ตอนที่ 37 - YouTube

2, 1. 3, 0. 5 กิโลกรัม และ 30 กรัม ต่อต้น ปีที่ 2 แอมโมเนียมซัลเฟต หินฟอสเฟต โพแทสเซียมคลอไรด์ คีเซอร์ไรต์ และโบเรต 3. 5, 3. 0, 2. 5, 0. 5 กิโลกรัม และ 60 กรัม ต่อต้น ปีที่ 3 แอมโมเนียมซัลเฟต หินฟอสเฟต โพแทสเซียมคลอไรด์ คีเซอร์ไรต์ และโบเรต 5. 0, 3. 0, 1. 0 กิโลกรัม และ 90 กรัม ต่อต้น ปีที่ 4 แอมโมเนียมซัลเฟต หินฟอสเฟต โพแทสเซียมคลอไรด์ คีเซอร์ไรต์ และโบเรต 5. 0, 4. 0 กิโลกรัม และ 100 กรัม ต่อต้น ปีที่ 5 แอมโมเนียมซัลเฟต หินฟอสเฟต โพแทสเซียมคลอไรด์ คีเซอร์ไรต์ และโบเรต 5. 0 กิโลกรัม และ 80 กรัม ต่อต้น และ อายุ 6 ปี แอมโมเนียมซัลเฟต หินฟอสเฟต โพแทสเซียมคลอไรด์ คีเซอร์ไรต์ และโบเรต 5.

การปลูกปาล์มน้ํามัน

การเลือกพื้นที่ ปลูกปาล์มน้ำมัน ควรเลือกพื้นที่ที่ดินมีชั้นหน้าดินลึก ความอุดมสมบูรณ์สูงถึงปานกลาง ควรมีลักษณะดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียว ดินเหนียวเนื้อดินไม่ควรเป็นทรายจัดไม่มีชั้นลูกรัง หรือชั้นดินดานสูงมากกว่า 0. 50 เมตร มีการระบายน้ำดีถึงปานกลาง น้ำไม่แช่ขังนานมีระดับน้ำใต้ดินตื้น ความเป็นกรดเป็นด่างของดินที่เหมาะสม 4 – 6 PH ความลาดเอียง 1 – 12% แต่ไม่ควรเกิน 23% ควรอยู่ในเขตที่มีปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 1, 800 มม. /ปีแต่ละเดือนควรมีฝนเฉลี่ยประมาณ 120 มม. /เดือนฝนทิ้งช่วงติดต่อกันนานไม่เกิน 3 เดือนเพราะช่วงแล้งที่ยาวนานทำให้ดอกตัวเมียลดลง ดอกตัวผู้ของกล้าปาล์มน้ำมันเพิ่มขึ้นส่งผลให้ผลผลิตกล้าปาล์มน้ำมันลดลงในเวลา 19 – 22 เดือนหลังจากนั้น มีแหล่งน้ำเพียงพอสำรองไว้ใช้ ถ้ามีการขาดน้ำมากกว่า 300 มม. ต่อปีหรือช่วงแล้งติดต่อมากกว่า 4 เดือน พื้นที่ที่มีสภาพไม่เหมาะสมสำหรับปลูกปาล์มน้ำมัน เช่นดินขาดความอุดมสมบูรณ์สภาพพรุ ดินค่อนข้างเค็มพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขังนาน ฯลฯต้องมีการจัดการแก้ไขตามสภาพปัญหาของพื้นที่นั้นๆ เป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดประมาณ 2, 000 ชั่วโมง/ปีหรือไม่ควรต่ำกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน อุณหภูมิ 22 – 32 องศาเซลเซียส ไม่อับลมและไม่มีลมพัดแรง

  1. การปลูกปาล์ม รายการเกษตรแทนไท ตอนที่ 37 - YouTube
  2. เทคนิคจัดการสวนปาล์ม (ตอน 3 ) : 4 เทคนิค จัดการสวนปาล์ม ให้ผลผลิตสูงต่อเนื่อง - Web YangPalm
  3. ดาว png ฟรี

20 เมตรท้องทางระบายน้ำกว้าง 0. 30 – 0. 50 เมตร และลึก 1 เมตรการทำทางระบายน้ำระหว่างแถวปาล์มน้ำมันขึ้นอยู่กับชนิดของดินในแต่ละแปลงถ้าเป็นที่ลุ่มน้ำท่วมขัง ควรขุดระบายน้ำทุก ๆ 2 – 4 แถวปาล์มน้ำมันถ้าเป็นที่ราบลุ่มควรมีการระบายน้ำที่ดีควรทำทางระบายน้ำทุก ๆ 6 แถวถ้าที่ดอนใช้ระยะ 100 เมตร – ทางระบายน้ำระหว่างแปลงในสวนปาล์มน้ำมัน ควรสร้างขนานกับถนนเข้าแปลงมีระยะห่างกันประมาณ 200 – 400 เมตรทางระบายน้ำนี้จะตั้งฉากและเชื่อมโยงกับทางระบายน้ำหลักมีขนาดของคูกว้าง 2. 00 – 2. 50 เมตรลึก 1. 20 – 1. 80 เมตร ท้องคูกว้าง 0. 60 – 1. 00 เมตร – ทางระบายน้ำหลักในสวนปาล์มน้ำมัน เป็นทางระบายน้ำขนาดใหญ่สามารถรับน้ำจากทางระบายน้ำระหว่างแปลงได้แล้วไหลลงสู่ทางน้ำธรรมชาติต่อไปส่วนมากร่องน้ำขนาดใหญ่นี้จะสร้างขนานกับถนนใหญ่หรือตามความจำเป็นในการระบายน้ำมีขนาดปากร่อง 3. 50 – 5. 00 เมตรท้องร่องกว้าง 1. 00 เมตร และลึกประมาณ 2.

2511 ในพื้นที่จังหวัดสตูลและจังหวัดกระบี่ การปลูกและอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันได้พัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ในปี พ. 2544 การปลูกปาล์มน้ำมันได้กระจายไปหลายจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ คาดว่ามีพื้นที่ปลูกกว่า 1. 8 ล้านไร่ โดยเป็นปาล์มที่ให้ผลผลิตแล้วประมาณ 1. 3 ล้านไร่ คิดเป็นผลผลิตทะลายปาล์มสดประมาณ 3. 7 ล้านตัน ส่งผลให้ภาคใต้จัดเป็นภาคที่ผลิตน้ำมันปาล์มมากที่สุด บริเวณพื้นที่ที่ปลูกมากที่สุด คือจังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานี ชุมพร สตูลและจังหวัดตรัง โดยจังหวัดกระบี่ เป็นจังหวัดที่ปลูกมากที่สุดจำนวน 537, 637 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 39. 40 และรองลงมา ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 405, 213 ไร่ และจังหวัดชุมพร จำนวน 216, 798 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 29. 70 และ 15. 89 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศตามลำดับ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี)

การเตรียมพื้นที่ปลูก 1. การบุกเบิกพื้นที่และการปรับสภาพพื้นที่สำหรับการปลูกปาล์มน้ำมัน เริ่มต้นจากการโค่นต้นไม้ขนาดใหญ่และเคลื่อนย้ายมากองรวมกัน จากนั้นปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง ระยะเวลาประมาณ 1 เดือน แล้วจึงทำการเผา และไถพื้นที่และปรับสภาพพื้นที่ 2. การทำถนนและทางระบายน้ำ และการสร้างถนนในสวนปาล์มน้ำ นับว่ามีความจำเป็นมากในการปลูกและการขนส่งหลังจากทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ลักษณะถนน มี 2 แบบ คือ ถนนใหญ่ ถือเป็นเส้นทางการขนส่งผลผลิต มีความกว้างของถนน ประมาณ 6 เมตร จะมีจำนวนกี่สายก็ขึ้นอยู่กับขนาดของแปลง ลักษณะภูมิประเทศ และเงินทุน ส่วนอีกแบบหนึ่ง เรียกว่าถนนย่อยหรือถนนเข้าแปลง เป็นถนนที่เชื่อมกับถนนใหญ่ ควรมีขนาดความกว้าง ประมาณ 4 เมตร ระยะห่างของถนนย่อยควรห่างกัน ประมาณ 500 เมตร ในขณะที่ถนนใหญ่แต่ละเส้นควรอยู่ห่างกัน ประมาณ 1 กิโลเมตร หากพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันมีสภาพเป็นพื้นที่ลุ่มการทำร่องระบายน้ำก็นับว่าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง 3. การวางแนวในการปลูกปาล์มน้ำมัน หลังการเตรียมพื้นที่เสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องทำการวางสำหรับการปลูกปาล์มน้ำมัน ซึ่งปกติการปลูกปาล์มน้ำมันนิยมปลูกเป็นลักษณะของสามเหลี่ยมด้านเท่า ระยะในการปลูกตั้งแต่ 8 x 8 เมตร ถึง 10 x 10 เมตร 4.

plainviewtirecenter.com, 2024 | Sitemap