ชิน ชิ ล่า คือ

ชินชิลล่า (Chinchilla) เป็นสัตว์เลี้ยงประเภทหนู จุดเด่นคือ มีขนปุกปุยอ่อนนุ่มมาก มองโดยรวมแล้วมีหน้าตาน่ารัก น่าเอ็นดู เหมือนกระต่ายผสมหนู ชินชิลล่า (Chinchilla) เป็นสัตว์เลี้ยงประเภทหนู จุดเด่นคือ มีขนปุกปุยอ่อนนุ่มมาก มองโดยรวมแล้วมีหน้าตาน่ารัก น่าเอ็นดู เหมือนกระต่ายผสมหนู และมีหางเหมือนกระรอก เ ป็นอีกสัตว์เลี้ยงที่คนไทยเองก็เริ่มนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ในเรื่องของราคาก็มีความสูงอยู่เหมือนกัน นอกจากนี้ยังต้องได้รับการดูแลที่ถูกวิธีด้วย หากใครที่คิดจะเลี้ยงเจ้าหนู ชินชิลล่า ลองมาดูกันว่าต้องเตรียมตัวอย่างไร: 10 ข้อควรรู้ก่อนเลี้ยง หนูชินชิลล่า หนูชินชิลล่า – 10 ข้อควรรู้ก่อนเลี้ยง 1. คิดก่อนซื้อ 2. กฏ 12 สัปดาห์ ถ้าคุณกำลังจะซื้อเจ้าหนูชินชิลล่า ควรเลือกซื้อหนูที่อายุยังน้อยเพื่อที่จะได้คุ้นชินกับคุณได้ง่าย และคุณไม่ควรใช้ชินชิลล่าที่มีอายุมากกว่า 12 สัปดาห์ เพราะเป็นระยะที่หย่านมของลูกหนู 3. ซื้ออุปกรณ์ก่อน หากคุณซื้อชินชิลล่ามาใหม่ให้คุณซื้ออุปกรณ์ของมันเข้ามาในบ้านก่อน เช่น บ้าน, ที่นอน, รวมไปถึงอุปกรณ์เครื่องเล่นเฉพาะของมันด้วย 4. ต้องประเมินสุขภาพเบื้องต้นได้ การเลี้ยงสัตว์ทุกประเภทคุณควรรู้สุขภาพเบื้องต้นก่อนที่จะเลี้ยง เช่น ถ้าหากคุณจะเลี้ยงเจ้าหนูชินชิลล่า ควรศึกษารายละเอียดของเขา เช่น สีของฟัน, ดวงตา ว่าเป็นอย่างไร มีวิธีการดูแลอย่างไร เป็นต้น 5.

สีนั้นสำคัญไฉน ทำไมแค่สีต่างกัน ราคาถึงต่างกันขนาดนี้ | ChinHiso

4. ฝึกชินชิล่าเข้าห้องน้ำ ๐๐๐ นิสัยชินชิล่าสามารถฉี่เป็นที่ แต่ต้องฝึก (แต่อึนั้นไม่สามารถ) เค้าจะชอบฉี่แถวที่ๆเคยฉี่ประจำเพราะความคุ้นเคย ให้เราเตรียมถ้วย(มีขอบนิดนึง)ไม่ตื้นไม่ลึกมาก ใส่วัสดุรองฉี่ที่ทำจากกระดาษหรือชัวร์ว่าปลอดภัยให้เค้าแทะทานได้ (แนะนำยี่ห้อ carefresh สำหรับรองนอนสัตว์) ให้เรานำขวดน้ำและถ้วยอาหารวางล้อมที่ฉี่ไว้ เอาแบบว่าจะกินน้ำหรือกินอาหารก็ต้องยืนบนที่ฉี่เป็นส่วนใหญ่ ซักพักใหญ่ๆเค้าจะอยู่ที่ไหนก็ต้องมาฉี่ตรงนั้น แล้วเค้าก็จะติดว่าต้องฉี่ในถ้วยนั้นๆตลอดค่ะ 5. น้ำ ๐๐๐ แนะนำให้ใส่ขวด และควรเป็นน้ำดื่มสะอาด เปลี่ยนน้ำทุกวัน ไม่ควรใช้น้ำประปาให้น้องดื่ม หากใส่ถ้วยเวลาน้องกินน้ำจะเข้าจมูก และบางตัวจะเข้าไปเล่นจนเปียกหมดทั้งตัว และจะเป็นหวัดได้ 7. ชินชิล่ากำพร้าแม่ หรือแม่ไม่เลี้ยงดู ๐๐๐ ใช้นมแพะ หรือนมหมา (Esbilac) ชงทิ้งให้หายร้อนก่อน ทดสอบกับหลังมือว่าร้อนไหม ห้ามใช้นมวัวหรือนมเด็กโดยเด็ดขาดลูกชินจะท้องเสีย ใช้ดรอปเปอร์ป้อนทุกๆชั่วโมง แรกๆต้องบังคับกินให้เค้ารู้ว่านี่คือนม โดยใส่หญ้าอัลฟาฟ่าไว้ในกรง ลองสังเกตุดูว่าเริ่มกินหญ้าไหม อาจจะลดจำนวนเวลาการป้อนนมลง เมื่ออายุมากขึ้นเป็น 3 ชม.
1. ตาอักเสบติดเชื้อ ( Eye infection) เกิดจากหลายสาเหตุได้แก่ มีฝุ่นผงหรือเศษของวัสดุรองนอนปลิวเข้าตา การได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม ความเครียด อากาศเย็นหรือโรคปอดปวม หรือมีปัญหาเกี่ยวกับฟัน อาการที่พบคือ เปลือกตาจะบวม มีขี้ตาสีขาวอยู่รอบๆ ตา อาจจะมีน้ำตาไหล 2. ปัญหาเกี่ยวกับฟัน ( Tooth Care) 3. องคชาติบวม ( Swollen Penis or Paraphimosis) เกิดจากเส้นขนพันอยู่รอบๆ องคชาติ ภายหลังการผสมพันธุ์ ทำให้การไหลเวียนเลือดบริเวณองคชาติได้ไม่ดี จนเกิดเลือดคั่งและบวมอักเสบ 4. บาดแผลและรอยขูดขีด ( Cuts & Abrasions) 5. การติดเชื้อรา ( Ringworm) มักพบในช่วงที่อากาศร้อนอบอ้าว เกิดจากการติดเชื้อราชนิด Trichophyton spp. โดยอาการที่พบคือขนหลุดร่วงเป็นหย่อมๆ ผิวหนังใต้ขนที่หลุดร่วงจะมีสีชมพูหรือแดง คัน ขนบางแตกหักง่าย หนวดแตกหักง่ายและบิดโค้งตรงปลาย โดยมักเป็นหนวดข้างใดข้างหนึ่ง บางตัวอาจมีน้ำตาไหลด้วย 6. การแทะเล็มขน ( Fur chewing) สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด อาจจะเกิดจากความเครียด ทำให้ชินชิลล่าใช้ฟันกัดแทะขนบริเวณลำตัวและขา จึงทำให้ขนบริเวณด้านข้างของขาหลังหลุดร่วง 7. ปัญหาเกี่ยวกับหู ( Ear ailments) เป็นอาการป่วยที่พบได้ไม่บ่อยนัก สาเหตุอาจเกิดจากการได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม และมักมีการติดเชื้อแทรกซ้อน อาการป่วยที่พบคือ มีสิ่งคัดหลั่งไหลออกจากภายในหู ใช้เท้าเกาหู หัวเอียง และเดินเป็นวงกลม 8.

ชินชิลล่า (Chinchilla) (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! พีเดีย

  • แผนที่ – โรงพยาบาลราชวิถี
  • เจ ล โล่
  • พฤติกรรมของชินชิล่า | Chinchilla’s Behavior – CHINCHILLA
  • กฎของโอห์ม - วิกิพีเดีย
  • ชินชิลล่า พันธ์ุหางขาว ขนนุ่มน่าเลี้ยง ดูแลอย่างไร ซื้อได้ที่ไหนบ้าง
  • ชินชิล่า สัตว์เลี้ยงขนนุ่มนิ่มที่สุดในโลก - สัตว์เลี้ยง เลี้ยงหมา เลี้ยงแมว เลี้ยงปลา
  • ชินชิล่า คือ
  • ชินชิลล่า (Chinchilla) | ChinHiso
  • โหลด office 2007 full version free download
  • โรคและความผิดปกติที่พบกับชินชิล่า - Chinchilla
ชินชิล่า คือ iphone 7 ล่าสุด

ชินชิลล่า พันธ์ุหางขาว ขนนุ่มน่าเลี้ยง ดูแลอย่างไร ซื้อได้ที่ไหนบ้าง

และมักก่อให้เกิดปัญหาในชินชิลล่าอายุน้อยมากกว่าอายุมาก 12. ท้องอืด ( Bloating) สาเหตุเกิดจากการกินผักสด และอาหารที่มีเยื่อใยต่ำ ทำให้ทางเดินอาหารมีการบีบตัวลดลง อาการที่พบคือ ท้องกางขยายขนาดใหญ่ขึ้นคล้ายลูกบอลลูน ขับถ่ายได้ลดลง คล้ายท้องผูก สลับท้องเสีย มีเมือกเหนียวเปื้อนบริเวณก้น หรือมูลมีขนาดเล็กลงในบางราย 13. โรคหัวใจ ( Heart Murmurs) 14. ชัก ( Seizures) มักพบในชินชิลล่าอายุน้อย ชินชิลล่าที่ตั้งท้อง หรือชินชิลล่าที่ขาดวิตามินเกลือแร่หรือแคลเซียม อาการที่พบคือ สั่น โงนเงน เดินเอียง หรือเดินเป็นวงกลม

ท้องเสีย (Diarrhea) เกิดจากหลายสาเหตุได้แก่ การติดเชื้อแบคทีเรีย การติดเชื้อปาราสิตชนิด giardia, coccidia และปัญหาเรื่องฟัน อาการที่พบคืออุจจาระมีลักษณะเหลวเป็นน้ำหรืออ่อนนุ่มกว่าปกติ 9. ท้องผูก (Constipation) เกิดจากการได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม อาหารมีเยื่อใยต่ำ ได้รับหญ้าน้อย หรืออาจจะเกิดจากการขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีอุจจาระมีลักษณะเป็นก้อนขนาดเล็ก แห้งกว่าปกติ และอาจจะมีกลิ่นเหม็น การแก้ไขทำได้โดยให้ชินชิลล่ากินน้ำและหญ้าแห้งมากขึ้น ให้กินลูกเกดวันละ 1 - 2 เม็ด หมายเหตุ ก้อนขน (furballs) อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการอุดตันในลำไส้ได้ การแก้ไขโดยให้กินเอนไซม์ของมะละกอ น้ำสัปปะรด หรือน้ำมะละกอสด 10. โรคลมแดด (Heat Strokes) เกิดจากหลายสาเหตุได้แก่ อุณหภูมิภายในกรงที่สูง การระบายอากาศภายในกรงที่ไม่เพียงพอ การได้รับแสงแดดโดยตรง และการได้กินน้ำน้อย การแก้ไขทำได้โดยนำชินชิลล่าไปไว้ในห้องที่เย็น วางพัดลมไว้ใกล้ๆ หรือวางน้ำแข็งไว้ในกรง แต่ไม่ควรนำชินชิลล่าไปแช่น้ำเย็น เพราะอาจทำให้ช็อกได้ 11. โรคติดเชื้อปาราสิต (Parasites) ปาราสิตที่พบในระบบทางเดินอาหารของชินชิลล่าได้แก่ giardia, cryptosporidium, tapeworms, hookworms, nematodes, and coccidia.

plainviewtirecenter.com, 2024 | Sitemap