การ จำแนก ผัก: การจำแนกผัก - ผัก

จำแนกโดยถือเอาส่วนของพืชที่ใช้บริโภคเป็นเกณฑ์ (classification based on parts used as food) แบ่งเป็นพวกๆ ดังนี้ พวกที่ใช้ใบ ก้าน ลำต้น (leaves, petioles, stems) เช่น คะน้า ผักกาดหอม ขึ้นฉ่าย ตะไคร้ พวกที่ใช้หัว ซึ่งเกิดจากส่วนราก (roots) เช่น มันเทศ ขิง ข่า พวกที่ใช้หัว ซึ่งเกิดจากลำต้นแปรรูป (modified stems) แบ่งเป็น ๒ พวกย่อย คือ ก. พวกหัวที่มีเนื้อแน่น (tuber) เช่น มันฝรั่ง ข. พวกหัวที่เป็นกลีบเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ (bulb) เช่น หอมฝรั่ง (หอมหัวใหญ่) หอมแดง กระเทียม พวกที่ใช้ผล (fruits) เช่น แตงกวา ฟักเขียว ฟักทอง ๓. จำแนกโดยถือเอาเกณฑ์การปลูก (classification based on cultural requirement) เราจัดพืชผัก ที่มีความต้องการทางภูมิอากาศ การปลูก การดูแลรักษา โรคแมลงที่รบกวน ที่มีลักษณะคล้ายกันรวมไว้เป็นพวกๆ เช่น พวกกะหล่ำ (cole crops) พวกแตง (melons) พวกผักสลัด (salad crops) พวกหัว (root crops) แตงกวาเป็นพืชที่ใช้ผล ๔. จำแนกโดยถือเอาความคงทนต่ออากาศหนาวของพืชเป็นเกณฑ์ (classification based on winter bardiness) เช่น ผักที่ทนหนาวได้ (hardy vegetables) ผักพวกนี้อาจจะทนความหนาวได้ ถึงแม้ว่าจะมีความหนาวถึงจุดที่เกิดผลึกน้ำแข็ง (frost) ผักที่ไม่ทนหนาว (tender vegetables) เมื่ออุณหภูมิถึงจุดดังกล่าวก็จะตาย อย่างไรก็ตามผักส่วนใหญ่ไม่ทนหนาวจัด แต่ต้องการอากาศอบอุ่น หน่อไม้ ๕.

การจำแนกผัก - นานาผัก

4 องศาเซลเซีย และอุณหภูมิเฉลี่ย สูงสุด ประจำเดือนไม่เกิน 24 องศาเซลเซียส ได้แก่ บีท กะหล่ำปลี กะหล่ำดาว กะหล่ำปม คะน้า แรดิช ปวยเล็ง เทอร์นิพ เป็นต้น 3. 51 - 18. 3 องศาเซลเซียส หรืออุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดประจำเดือนไม่ต่ำกว่า 7 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด ประจำเดือนไม่เกิน 21-24 องศาเซลเซียส ได้แก่ อาร์ติโช๊ค แครอท กะหล่ำดอก คื่นช่าย ผักกาดขาวปลี ผักกาดหอม ถั่วลันเตา มันฝรั่ง เป็นต้น โดยทั่วไปพืชผักฤดูหนาวจะแตกต่างจากพืชผักฤดูร้อน ดังต่อไปนี้ 1. สามารถทนต่ออากาศหนาวเย็นต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และน้ำค้างได้ 2. เมล็ดสามารถงอกในดินที่มีอุณหภูมิต่ำๆได้ 3. ระบบของรากหยั่งตื้นกว่าพืชฤดูร้อน 4. ตอบสนองธาตุไนโตรเจนได้ดีกว่า เช่น เมื่อให้ไนโตรเจนพืชผักฤดูหนาวจะให้ ผลผลิตสูงขึ้น 5. ต้องการน้ำมากกว่าพืชผักฤดูร้อน 6. ผลิตผลที่เก็บเกี่ยวมาแล้ว จะต้องเก็บไว้รอจำหน่ายในที่ที่มีอุณหภูมิใกล้ๆ 0 องศาเซลเซียส ยก เว้นมันฝรั่งซึ่งต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิ 3. 3 - 10 องศาเซลเซียส แต่พืชผักฤดูร้อนชนิดเดียวที่ต้องเก็บผลผลิตไว้ที่ 0 องศาเซลเซียส คือ ข้าวโพด 7. ผลผลิตที่นำมาเก็บไว้ห้องที่มีอุณหภูมิ 0-10 องศาเซลเซียส จะไม่ทำให้เกิด การเน่าเสีย ช้ำ หรือ เสียหายเนื่องจากถูกอากาศเย็นจัดเกินไป (Chilling injury) 8.

2. ) Angispermae พวกนี้จะไข่ (Ovule) อยู่ในรังไข่ (Ovary) ซึ่งพืชผักก็อยู่ใน Division นี้ และสามารถแบ่งออกเป็น 2 classes ได้แก่ 1. Class Monocotyledoneae เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น หอม กระเทียม ข้าวโพด หน่อไม้ฝรั่ง ขิง 2. Class Dicotyledoneae เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ เช่น ผักกาด กะหล่ำต่างๆ แตงต่างๆ นอกจากนี้ยังแบ่งออกเป็น 2 series ได้แก่ (1. )Choripetalae เป็นพืชผักที่มีกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอกจะแยกออกจากกันเป็นหลายกลีบอย่างเห็นได้ชัด (2. ) Gramopetalae เป็นพืชผักที่มีกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอกรวมกันเป็นกลีบเดียว 2. จำแนกตามสภาพอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต ( Classification based on hardiness) เป็นการจำแนกกลุ่มพืชโดยพิจารณาความสามารถในการทนทานต่อสภาพอากาศที่เหมาะแก่การเจริญเติบโต แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 2. ) พืชที่สามารถทนต่ออากาศหนาวเย็น (hardly vegetable) เป็นพืชผักที่ ปลูกได้ดีในอากาศเย็น แม้ว่าจะเย็นจนถึง จุดเยือกแข็งก็ไม่เสียหาย แต่ถ้านำมาปลูกในเขต อากาศร้อนจะไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร เรียกว่า พวก Hardy เช่น มันฝรั่ง ถั่วปากอ้า ถั่วลันเตา และกะหล่ำปลี เป็นต้น 2. ) พืชที่ทนต่ออากาศต่ออากาศหนาวเย็นได้บ้าง (semi-hardly vegetable) เป็นพืชผักที่ไม่ สามารถทนอากาศหนาวเย็นจัดได้ คือ ทนต่อ ความร้อนและความเย็นได้ พอประมาณเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 15-18 องศา เซลเซียส เรียกว่า พวก Half-hardy เช่น ผักกาดหอม คื่นช่าย บีท แครอท เป็นต้น 2.

การจำแนกผัก (classification of vegetables) อาจจะกระทำได้หลายวิธีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความประสงค์ของผู้จำแนกว่า จะใช้อะไรเป็นหลักเกณฑ์ในการจำแนก เท่าที่ใช้กันทั่วๆ ไป มีวิธีการจำแนกอยู่ ๕ วิธีด้วยกัน คือ ต้นคะน้า ๑. จำแนกโดยอาศัยหลักเกณฑ์ทางพฤกษศาสตร์ (botanical classification) การจำแนกวิธีนี้นับว่า เป็นวิธีที่ดีที่สุด ในการที่จะกล่าวถึงพืชผักแต่ละชนิด และเป็นวิธีสากลนิยม หลักเกณฑ์การจำแนกก็คงเหมือนวิธีการทางอนุกรมวิธาน ที่ใช้กับพืชทั่วๆ ไป กล่าวคือ พืชที่อยู่ในอาณาจักรพืช จะถูกแบ่งเป็น ส่วน (phylum หรือ division) ชั้น (class) อันดับ (order) ตระกูลหรือวงศ์ (family) สกุล (genus) ชนิด (species) และพันธุ์ (variety) ตามลำดับความสัมพันธ์ทางเชื้อสาย (heredity) พืชแต่ละชนิดจะถูกให้ชื่อตามบทบัญญัติการตั้งชื่อพืชสากล (international code botanical nomenclature) ๒. จำแนกโดยถือเอาส่วนของพืชที่ใช้บริโภคเป็นเกณฑ์ (classification based on parts used as food) แบ่งเป็นพวกๆ ดังนี้ พวกที่ใช้ใบ ก้าน ลำต้น (leaves, petioles, stems) เช่น คะน้า ผักกาดหอม ขึ้นฉ่าย ตะไคร้ พวกที่ใช้หัว ซึ่งเกิดจากส่วนราก (roots) เช่น มันเทศ ขิง ข่า พวกที่ใช้หัว ซึ่งเกิดจากลำต้นแปรรูป (modified stems) แบ่งเป็น ๒ พวกย่อย คือ ก.

๑ พืชผักฤดูเดียว (annual) คือพืชที่มีอายุสั้นๆ จบชีพจักรภายในปีเดียว หรือฤดูปลูกเดียว ส่วนมากเป็นพวกพืชล้มลุก (herbaceous plants) เช่น มะเขือเทศ แตงกวา ๕. ๒ พืชสองฤดู (biennial) คือพืชที่จบชีพจักรภายใน ๒ ปี หรือ ๒ ฤดูปลูก ซึ่งเป็นลักษณะของพืชเมืองหนาว ที่ต้องใช้ความเย็นทำลายการพักตัว (break dormancy) เช่น หอมฝรั่ง กะหล่ำต่างๆ พืชเหล่านี้ ในฤดูปลูกแรก มีการเจริญเติบโตทางส่วนต้น (vegetative growth) เมื่อการพักตัวถูกทำลายแล้ว ในฤดูปลูกหลังจะมีการเจริญทางการสืบพันธุ์ (reproductive growth) ๕.

การจำแนกผัก (classification of vegetables), การจำแนกผัก (classification of vegetables) หมายถึง, การจำแนกผัก (classification of vegetables) คือ, การจำแนกผัก (classification of vegetables) ความหมาย, การจำแนกผัก (classification of vegetables) คืออะไร จำแนกโดยถือเอาส่วนของพืชที่ใช้บริโภคเป็นเกณฑ์แบ่งเป็นพวกๆ ดังนี้ พวกที่ใช้ใบ ก้าน ลำต้น (leaves, petioles, stems) เช่น คะน้า ผักกาดหอม ขึ้นฉ่าย ตะไคร้ พวกที่ใช้หัว ซึ่งเกิดจากส่วนราก (roots) เช่น มันเทศ ขิง ข่า พวกที่ใช้หัว ซึ่งเกิดจากลำต้น แปรรูป (modified stems) แบ่งเป็น ๒ พวกย่อย คือ ก. พวกหัวที่มีเนื้อแน่น (tuber) เช่น มันฝรั่ง ข. พวกหัวที่เป็นกลีบเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ (bulb) เช่น หอมฝรั่ง (หอมหัวใหญ่) หอมแดง กระเทียม พวกที่ใช้ผล (fruits) เช่น แตงกวา ฟัก เขียว ฟักทอง ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook.. ได้ที่นี่เลย! !

นี้เป็นเพราะเนื้อหาแคลอรี่สูงของหัวที่มันยังเป็น ถึง 70-80 กิโลแคลอรีต่อ 100 กรัม และสำหรับส่วนที่เราใช้เป็นกฎมากขึ้น (200-300 กรัม) และถ้าคุณยังคงปรุงมันฝรั่งทอดที่ชื่นชอบหรือมันฝรั่งจะดีกว่าที่จะไม่เริ่มต้นการคำนวณ! พืชรากมีแคลอรี่น้อยกว่า - ประมาณ 20-50 กิโลแคลอรีคิดเป็น 100 กรัมของผักเหล่านี้ ในหัวหอมตัวบ่งชี้นี้จะแตกต่างกันอย่างมาก ดังนั้นปริมาณแคลอรี่ของกระเทียมหอมคือ 36 kcal และในกระเทียมถึง 149 kcal!

จำแนกตามความแตกต่างด้านพฤกษศาสตร์ (Botanical classification) เป็นการจำแนกพืชผักออกตามลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์ เช่น ใช้ลักษณะของราก ใบ ดอก ผล และเมล็ดในการแบ่งพืชผักว่า อยู่ในตระกูล (Family) เดียวกันหรือไม่ การแบ่งพืชผักทางพฤกษศาสตร์จะแบ่งออกเป็นลำดับดังนี้ Plant kingdom อาณาจักรพืช Sub kingdom อาณาจักรย่อย Division จำพวก Class ชั้น Family วงศ์ หรือ ตระกูล Genus สกุล Species ชนิด Variety พันธุ์ ระบบการจำแนกพืชผักทางพฤกษศาสตร์นี้ สามารถใช้แสดงความสัมพันธ์ (Relationship) และมีประโยชน์ในด้านการวางแผนปรับปรุงพันธุ์ ซึ่ง Bailey (1925) ได้จำแนกออกเป็น 4 กลุ่ม (Subcommunity) คือ 1. Thallophyta ได้แก่ พวก Thallophytes ซึ่งเป็นพืชชั้นต่ำไม่มีราก ลำต้น และใบ เช่น พวกแบคทีเรีย สาหร่าย(algea) รา(fungi) และไลเคน(Lichen) 2. Bryophyta เช่น พวก liverworts และ mosses 3. Pteridophyta เช่น พวก fern and their allies 4. Spermatophyta เช่น พวกพืชชั้นสูง หรือพืชที่มีเมล็ดซึ่งพืชผักก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ด้วย โดยที่ Spermatophyta นี้ สามารถแบ่งออกเป็น 2 Divisions คือ 4. 1. ) Gymnospermae พวกนี้จะมีไข่ (Ovule) อยู่นอกรังไข่ (Ovary) 4.

  • การ จำแนก ผัก png
  • การจำแนกผัก (classification of vegetables) (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - อ่านสารานุกรมไทย
  • บ้าน โคราช ราคา ถูก
  • การ จำแนก ผัก ผลไม้
การ จำแนก ผัก ภาษาจีน

1 Gymnospermae พวกนี้จะมีไข่ (Ovule) อยู่นอกรังไข่ (Ovary) 4. 2 Angispermae พวกนี้จะไข่ (Ovule) อยู่ในรังไข่ (Ovary) ซึ่งพืชผักก็อยู่ใน Division นี้ และสามารถแบ่งออกเป็น 2 classes ได้แก่ 4. 2. 1 Class Monocotyledoneae เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น หอม กระเทียม ข้าวโพด หน่อไม้ฝรั่ง ขิง 4. 2 Class Dicotyledoneae เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ เช่น ผักกาด กะหล่ำต่างๆ แตงต่างๆ นอกจากนี้ยังแบ่งออกเป็น 2 series ได้แก่ 4. 1 Choripetalae เป็นพืชผักที่มีกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอกจะแยกออกจากกันเป็นหลายกลีบอย่างเห็นได้ชัด 4. 2 Gramopetalae เป็นพืชผักที่มีกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอกรวมกันเป็นกลีบเดียว 2. จำแนกตามสภาพอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต ( Classification based on hardiness) เป็นการจำแนกกลุ่มพืชโดย พิจารณาความสามารถในการทนทานต่อสภาพอากาศที่เหมาะแก่การเจริญเติบโต แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 2. 1 พืชที่สามารถทนต่ออากาศหนาวเย็น (hardly vegetable) เป็นพืชผักที่ ปลูกได้ดีในอากาศเย็น แม้ว่าจะเย็นจนถึง จุดเยือกแข็งก็ไม่เสียหาย แต่ถ้านำมาปลูกในเขต อากาศร้อนจะไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร เรียกว่า พวก Hardy เช่น มันฝรั่ง ถั่วปากอ้า ถั่วลันเตา และกะหล่ำปลี เป็นต้น 2.

4 องศาเซลเซีย และอุณหภูมิเฉลี่ย สูงสุด ประจำเดือนไม่เกิน 24 องศาเซลเซียส ได้แก่ บีท กะหล่ำปลี กะหล่ำดาว กะหล่ำปม คะน้า แรดิช ปวยเล็ง เทอร์นิพ เป็นต้น 3. 51 - 18. 3 องศาเซลเซียส หรืออุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดประจำเดือนไม่ต่ำกว่า 7 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด ประจำเดือนไม่เกิน 21-24 องศาเซลเซียส ได้แก่ อาร์ติโช๊ค แครอท กะหล่ำดอก คื่นช่าย ผักกาดขาวปลี ผักกาดหอม ถั่วลันเตา มันฝรั่ง เป็นต้น โดยทั่วไปพืชผักฤดูหนาวจะแตกต่างจากพืชผักฤดูร้อน ดังต่อไปนี้ 1. สามารถทนต่ออากาศหนาวเย็นต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และน้ำค้างได้ 2. เมล็ดสามารถงอกในดินที่มีอุณหภูมิต่ำๆได้ 3. ระบบของรากหยั่งตื้นกว่าพืชฤดูร้อน 4. ตอบสนองธาตุไนโตรเจนได้ดีกว่า เช่น เมื่อให้ไนโตรเจนพืชผักฤดูหนาวจะให้ ผลผลิตสูงขึ้น 5. ต้องการน้ำมากกว่าพืชผักฤดูร้อน 6. ผลิตผลที่เก็บเกี่ยวมาแล้ว จะต้องเก็บไว้รอจำหน่ายในที่ที่มีอุณหภูมิใกล้ๆ 0 องศาเซลเซียส ยก เว้นมันฝรั่งซึ่งต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิ 3. 3 - 10 องศาเซลเซียส แต่พืชผักฤดูร้อนชนิดเดียวที่ต้องเก็บผลผลิตไว้ที่ 0 องศาเซลเซียส คือ ข้าวโพด 7. ผลผลิตที่นำมาเก็บไว้ห้องที่มีอุณหภูมิ 0-10 องศาเซลเซียส จะไม่ทำให้เกิด การเน่าเสีย ช้ำ หรือ เสียหายเนื่องจากถูกอากาศเย็นจัดเกินไป (Chilling injury) 8.

plainviewtirecenter.com, 2024 | Sitemap